เมนู

สาสวโนอาสวะ, อิทธิบาท 4 กล่าวไม่ได้ว่า เป็นทั้งอาสวอาสวสัมปยุต เป็น
ทั้งอาสวสัมปยุตตโนอาสวะ, อิทธิบาท 4 เป็นอาสววิปปยุตตอนาสวะ อิทธิ-
บาท 4 เป็นโนสัญโญชนะ ฯลฯ อิทธิบาท 4 เป็นโนคันถะ ฯลฯ อิทธิบาท 4
เป็นโนโอฆะ ฯลฯ อิทธิบาท 4 เป็นโนโยคะ ฯลฯ อิทธิบาท 4 เป็นโนนีวรณะ
ฯลฯ อิทธิบาท 4 เป็นโนปรามาสะ ฯลฯ

10. มหันตรทุกวิสัชนา


[540] อิทธิบาท 4 เป็นสารัมมณะ, อิทธิบาท 3 เป็นโนจิตตะ,
จิตติทธิบาท เป็นจิตตะ, อิทธิบาท 3 เป็นเจตสิกะ, จิตติทธิบาท เป็นอเจตสิกะ,
อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสัมปยุต, จิตติทธิบาท กล่าวไม่ได้ว่า เป็นทั้งจิตตสัมปยุต
เป็นทั้งจิตตวิปปยุต, อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสังสัฏฐะ, จิตติทธิบาท กล่าวไม่
ได้ว่าเป็นทั้งจิตตสังสัฏฐะ เป็นทั้งจิตตวิสังสัฏฐะ, อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสมุฏ-
ฐานะ, จิตติทธิบาท เป็นโนจิตตสมุฏฐานะ, อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสหภู
จิตติทธิบาท เป็นโนจิตตสหภู อิทธิบาท 3 เป็นจิตตานุปริวัตติ จิตติทธิบาท
เป็นโนจิตตานุปริวัตติ. อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานะ,จิตติทธิบาท
เป็นโนจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานะ, อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภู,
จิตติทธิบาท เป็นโนจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภู, อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสัง-
สัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติ, จิตติทธิบาท เป็นโนจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติ,
อิทธิบาท 3 เป็นพาหิระ, จิตติทธิบาท เป็นอัชฌัตติกะ, อิทธิบาท 4 เป็น
นอุปาทา, อิทธิบาท 4 เป็นอนุปาทินนะ.

11,12,13, อุปาทานโคจฉกาทิวิสัชนา


[541] อิทธิบาท4 เป็นนอุปาทานะ ฯลฯ อิทธิบาท4 เป็นโนกิเลสะ
ฯลฯ อิทธิบาท 4 เป็นนทัสสเนนปหาตัพพะ, อิทธิบาท 4 เป็นนภาวนายปหา-

ตัพพ, อิทธิบาท 4 เป็นนทัสสเนนปหาตัพพเหตุกะ อิทธิบาท 4 เป็นนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกะ, อิทธิบาท 4 เป็นสวิตักกะก็มี เป็นอวิตักกะก็มี อิทธิ-
บาท 4 เป็นสวิจาระก็มี เป็นอวิจาระก็มี อิทธิบาท 4 เป็นสัปปีติกะก็มี เป็น
อัปปีติกะก็มี, อิทธิบาท 4 เป็นปีติสหคตะก็มี เป็นนปีติสหคตะก็มี, อิทธิบาท
4 เป็นสุขสหคตะก็มี เป็นนสุขสหคตะก็มี, อิทธิบาท 4 เป็นอุเปกขาสหคตะ
ก็มี เป็นนอุเปกขาสหคตะก็มี, อิทธิบาท 4 เป็นนกามาวจร, อิทธิบาท 4 เป็น
นรูปาวจร, อิทธิบาท 4 เป็นนอรูปาวจร, อิทธิบาท 4 เป็นอปริยาปันนะ,
อิทธิบาท 4 เป็นนิยยานิกะ, อิทธิบาท 4 เป็นนิยตะ, อิทธิบาท 4 เป็น
อนุตตระ, อิทธิบาท 4 เป็นอรณะ ฉะนี้แล.
ปัญหาปุจฉกะ จบ
อิทธิปาทวิภังค์ จบบริบูรณ์

อรรถกถาอิทธิปาทวิภังค์


วรรณนาสุตตันตภาชนีย์


บัดนี้ พึงทราบวินิจฉัยใน อิทธิปาทวิภังค์ อันเป็นลำดับต่อจาก
สัมมัปปธานวิภังค์ นั้น ต่อไป.
คำว่า 4 เป็นคำกำหนดจำนวน. ในคำว่า อิทฺธิปาทา นี้ ชื่อว่า
อิทธิ (ฤทธิ์) เพราะอรรถว่า ย่อมรุ่งเรือง อธิบายว่า ย่อมรุ่งเรืองด้วยดี คือ
ย่อมสำเร็จ. อีกอย่างหนึ่งสัตว์ทั้งหลายผู้สำเร็จ ผู้เจริญ ย่อมสำเร็จ ย่อมถึง
ความเป็นผู้ประเสริฐ ด้วยสภาวะนี้ แม้เพราะเหตุนั้น สภาวะนั้น จึงชื่อว่า